วันอาทิตย์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2556

แบบฝึกหัด เรื่อง ตัวดำเนินการ

ข้อ1 การลบ
#include<stdio.h>
main()
{
    int num1,num2,sum;

    printf("Enter number1:");
    scanf("%d",&num1);

    printf("Enter number2:");
    scanf("%d",&num2);

    sum=num1-num2;
    printf("%d - %d = %d",num1,num2,sum);
}

ผลลัพธ์ที่ได้ คือ
 Enter number1: 57
 Enter number2: 43
57-43=14


ข้อ1 การคูณ
#include<stdio.h>
main()
{
    int num1,num2,sum;

    printf("Enter number1:");
    scanf("%d",&num1);

    printf("Enter number2:");
    scanf("%d",&num2);

    sum=num1*num2;
    printf("%d * %d = %d",num1,num2,sum);
}


ผลลัพธ์ที่ได้ คือ

Enter number1: 27
Enter number2: 23
27*23=621

ข้อ2 คีย์บอร์ด3

#include<stdio.h>
main()
{
    int num1,num2,num3,sum;
    printf("Enter number1:");
    scanf("%d",&num1);

    printf("Enter number2:");
    scanf("%d",&num2);

    printf("Enter number3:");
    scanf("%d",&num3);

    printf("%d,%d,%d",num1,num2,num3,sum);
}
ผลลัพธ์ที่ได้ คือ


Enter number1 :5
Enter number2 :8
Enter number3 :9
 5,8,9

ข้อที่2 คีย์บอร์ด4
#include<stdio.h>
main()
{
    int Weight,high;
    printf("Enter Weight:");
    scanf("%d",&Weight);

    printf("Enter high:");
    scanf("%d",&high);

    printf("Weight& high %d,%d",Weight,high);
}
 ผลลัพธ์ที่ได้ คือ


Enter Weight : 45
Enter high      : 157
Weight&high 45,157


ข้อ 3 พื้นที่สี่เหลี่ยม5

#include<stdio.h>
main()
{
    int m,p;
    float result;
    printf("Enter>>>");
    scanf("%d",&m);
    printf("Enter>>>");
    scanf("%d",&p);

    result=m*p;
    printf("Result=%.2f",result);

}

ผลลัพธ์ที่ได้ คือ

Enter >>> 25
Enter >>> 15
Result = 375.00

ข้อที่3 พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู6
 

#include<stdio.h>
main()
{
    int p,k,s;
    float result;
    printf("Enter>>>");
    scanf("%d",&p);
    printf("Enter>>>");
    scanf("%d",&k);
    printf("Enter>>>");
    scanf("%d",&s);

    result=0.5*p*(k+s);
    printf("Result=%.2f",result);

}


ผลลัพธ์ที่ได้ คือ

Enter >>> 3
Enter >>> 4
Enter >>> 0.5
Result = 6.00

ข้อที่4 แปลงค่าอุณหภูมิ1

#include<stdio.h>
main()
{
    int F;
    float C;
    printf("Enter fahrenheit");
    scanf("%d",&F);

    C=(F-32)/1.8;
    printf("degree=%.1f",C);


}



ผลลัพธ์ที่ได้ คือ

Enter Fahrenheit 32
degree =              0.0


ข้อที่4 แปลงค่าอุณหภูมิ 2




#include<stdio.h>
main()
{
    int C;
    float F;
    printf("Enter degree");
    scanf("%d",&C);

    F=(C/5)*9+32;
    printf("Fahrenheit=%.1f",F);

}
ผลลัพธ์ที่ได้ คือ

Enter degree100
Fahrenheit = 212.0








วันอาทิตย์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2556

การประกาศตัวแปร


#include<stdio.h>
main()
{
   int Age=16;
   float Weight=45.00;
   char name[100]="Krittiyaporn Bunsuwan";
   char Subject[100]= "Computer";

   printf("Age: %d \n" ,Age);
   printf("Weight: %.2f \n" ,Weight);
   printf("Name: %s \n" ,name);
   printf("Subject %s \n" ,Subject);
}

วันพุธที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2555

c Programming

c Programming


#include<stdio.h>
main()
{
  printf("              cccccc ");
  printf("    \n            ccc ");
  printf(" \n           ccc ");
  printf(" \n          ccc");
  printf(" \n         ccc");
  printf("\n         ccc");
  printf("\n         ccc");
  printf("\n          ccc");
  printf("\n           ccc");
  printf("\n            ccc");
  printf("\n              cccccc  Programming");

}

วันอาทิตย์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ใบงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์

แบบฝึกหัดเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.จงอธิบายความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาพอเข้าใจ
- การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปเข้าด้วยกันด้วยสายเคเบิล หรือสื่ออื่นๆ
2.จงอธิบายความหมายคำว่าอินเตอร์เน็ต
- อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย
3.จงเขียนอธิบายรูปแบบการเชื่อมต่อดังนี้
  3.1แบบดาว
- เชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด

 
     

  3.2แบบวงแหวน

-เชื่อมต่อแบบวนรอบ






3.3แบบบัส

-เชื่อมต่อแบบอนุกรม



3.4แบบทรีหรือแบบต้นไม้

-เชื่อมต่อแบบที่ดัดแปลงมาจากแบบดาว




4.จงสรุปว่าอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายมีอะไรบ้างพร้อมให้นิยามความหมายมาพอเข้าใจ

1.โมเด็ม (Modem)   -โมเด็มเป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิตัล

2. การ์ดเครือข่าย (Network  Adapter) หรือ การ์ด LAN
-เป็นอุปกรณ์ทำหน้าที่สื่อสารระหว่างเครื่องต่างกันได้ไม่จำเป็นต้องเป็นรุ่นหรือยี่ห้อเดียวกันแต่หากซื้อพร้อมๆกันก็แนะนำให้ซื้อรุ่นและยีห้อเดียวกันจะดีกว่า
3. เกตเวย์ (Gateway)   -เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อีกอย่างหนึ่งที่ช่วยในการสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์หน้าที่หลักคือช่วยให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์  2 เครือข่ายหรือมากกว่า ซึ่งมีลักษณะไม่เหมือนกันสามารถติดต่อสื่อสารกันได้เหมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน

4. เราเตอร์ (Router)     -เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ในระบบเครือข่ายที่ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมโยงให้เครือข่ายที่มีขนาดหรือมาตรฐานในการส่งข้อมูลต่างกัน สามารถติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ เราเตอร์จะทำงานอยู่ชั้น Network หน้าที่ของเราเตอร์ก็คือ ปรับโปรโตคอล (Protocol) (โปรโตคอลเป็นมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูล บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์) ที่ต่างกันให้สามารถสื่อสารกันได้

5. บริดจ์ (Bridge)     บริดจ์มีลักษณะคล้ายเครื่องขยายสัญญาณ บริดจ์จะทำงานอยู่ในชั้น Data Link บริดจ์ทำงานคล้ายเครื่องตรวจตำแหน่งของข้อมูล โดยบริดจ์จะรับข้อมูล จากต้นทางและส่งให้กับปลายทาง โดยที่บริดจ์จะไม่มีการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงใดๆแก่ข้อมูล บริดจ์ทำให้การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายมีประสิทธิภาพลดการชนกัน ของข้อมูลลง บริดจ์จึงเป็นสะพานสำหรับข้อมูลสองเครือข่าย

6. รีพีตเตอร์ (Repeater)     -รีพีตเตอร์ เป็นเครื่องทบทวนสัญญาณข้อมูลในการส่งสัญญาณข้อมูลในระยะทางไกลๆสำหรับสัญญาณแอนะล็อกจะต้องมีการขยายสัญญาณข้อมูลที่ี่เริ่มเบาบางลงเนื่องจากระยะทาง และสำหรับสัญญาณดิจิตัลก็จะต้องมีการทบทวนสัญญาณเพื่อป้องกันการขาดหายของสัญญาณเนื่องจากการส่งระยะทางไกลๆเช่นกัน รีพีตเตอร์จะทำงานอยู่ในชั้น Physical

7.  สายสัญญาณ     เป็นสายสำหรับเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆในระบบเข้าด้วยกัน หากเป็นระบบที่มีจำนวนเครื่องมากกว่า 2 เครื่องก็จะต้องต่อผ่านฮับอีกทีหนึ่ง โดยสายสัญญาณสำหรับเชื่อมต่อเครื่องในระบบเครือข่าย จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ
  -     สาย Coax
  -     สาย UTP (Unshied  Twisted  Pair) 

8.  ฮับ (HUB)      -เป็นอุปกรณ์ช่วยกระจ่ายสัญญาณไปยังเครื่องต่างๆที่อยู่ในระบบ หากเป็นระบบเครือข่ายที่มี 2 เครื่องก็ไม่จำเป็นต้องใช้ฮับสามารถใช้สายสัญญาณเชื่อมต่อ ถึงกันได้โดยตรง  แต่หากเป็นระบบที่มีมากกว่า 2 เครื่องจำเป็นต้องมีฮับเพื่อทำหน้าที่เป็นตัวกลาง ในการเลือกซื้อฮับควรเลือกฮับที่มีความเร็วเท่ากับความเร็ว ของการ์ด

จงอธิบายความหมายของคำศัพท์ต่อไปนี้มาพอเข้าใจ

5.1LAN
- เป็นลักษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพื้นที่ใกล้ ๆ กัน เครือข่าย LAN ออกแบบมาเพื่อให้บริการแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน ในส่วนต่างๆขององค์กรในบริเวณที่ไม่ไกลกันมาก เช่นอยู่ในอาคารเดียวกัน ระหว่างชั้นอาคาร สามารถดูแลได้เองโดยไม่ต้องใช้ระบบสื่อสารข้อมูลแบบอื่น

5.2 WAN
   - เครือข่าย WAN เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงกันในระยะทางที่ห่างไกล อาจจะเป็นหลาย ๆ กิโลเมตร
ดังนั้นความเร็วในการเชื่อมโยงระหว่างกันอาจไม่สูงมากนัก เพราะระยะทางไกลทำให้มีสัญญาณรบกวนได้สูง ความเร็วจึงอยู่ในระดับช่วง 9.6-64 Kbps และ 1.5-2 Mbps ขึ้นอยู่กับแอพพลิเคชั่นและขนาดของข้อมูล


5.3 Frame Relay
- เป็นการออกแบบสื่อสารโทรคมนาคมสำหรับประสิทธิภาพต้นทุนการส่งผ่านสำหรับการจราจรเป็นช่วงระหว่างเครือข่ายพื้นที่ท้องถิ่น

5.4 Ethernet
-เป็นเทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เป็นฐานหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งหมด

5.5Inthernet
-เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทั่วโลก

5.6 Protocol
-ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โปรโตคอลเป็นกลุ่มพิเศษของกฎ สำหรับการสื่อสารที่จุดปลายของการเชื่อมต่อของการติดต่อสื่อสาร

5.7 Fiber optic
- สายสัญญาณของระบบเครือข่ายอีกชนิดหนึ่ง ที่มีความสามารถในการรับ-ส่งสัญญาณได้ไกลๆ เป็นกิโลเมตร และมีการสูญเสียของสัญญาณน้อยมาก

5.8 ATM
- ระบบสื่อสารข้อมูลลความเร็วสูง ที่ใช้รูปแบบการสื่อสารเป็นแบบ แพ็กเก็จ เหมือนเช่นในเครือข่าย  X.25 หรือระบบ LAN เช่น อีเทอร์เน็ตโทเกินริง แต่การสื่อสารเป็นแบบอะซิงโครนัสกล่าวคือ ตัวรับและตัวส่งใช้สัญญาณนาฬิกาแยกจากกันไม่เกี่ยวข้องกัน ATM ถูกพัฒนามาจากเครือ ข่าย Packet-switching ซึ่งจะแบ่งข้อมูลที่จะส่งออกเป็นหน่วยย่อยๆ เรียกว่า Packet ที่มีขนาด เล็กและคงที่แล้วจึงส่งแต่ละ packet ออกไป แล้วนำมาประกอบรวมกันเป็นข้อมูลเดิมอีก ครั้งที่ปลายทาง
5.9VPN
- เครือข่ายเสมือนส่วนตัว ที่ทำงานโดยใช้ โครงสร้างของ เครือข่ายสาธารณะ หรืออาจจะวิ่งบน เครือข่ายไอพีก็ได้ แต่ยังสามารถ คงความเป็นเครือข่ายเฉพาะ ขององค์กรได้ ด้วยการ เข้ารหัสแพ็กเก็ตก่อนส่ง เพื่อให้ข้อมูล มีความปลอดภัยมากขึ้น
6.จงเขียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับระบบเครือข่ายมา 20 คำพร้อมอธิบายและคำอ่านภาษาอังกฤษ

1.COMPOSE
การแต่ง หรือเขียนจดหมาย Email
2.DIAL UP
การติดต่อกับคอมพิวเตอร์ หรือระบบเครือข่าย ผ่านทางสายโทรศัพท์
3.DOMAIN
กลุ่มของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่บนเครือข่าย
4.EISA
การเชื่อมต่อหรือ อินเตอร์เฟส แบบมาตราฐานของการ์ดต่าง ๆ ปัจจุบันล้าสมัยแล้ว
5.E-MAIL
 Electronic Mail จดหมายอิเลคทรอนิกส์ ใช้สำหรับการรับ-ส่งข้อมูลผ่านทางเครือข่าย
6.GATEWAY
คอมพิวเตอร์ตัวกลางในการเคลื่อนย้ายข้อมูลจากเครือข่ายหนึ่ง ไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง
7.HOME PAGE
เอกสารหน้าแรก (หน้าแนะนำตัว) ของ เวิลด์ ไวด์ เว็บ ของ web site ต่างๆ
8.HOST
คอมพิวเตอร์หลัก ที่ใช้สำหรับเก็บข้อมูล เช่น Host ของ web site ต่างๆ
9.LOG IN
ขั้นตอนการขออนุญาต เข้าระบบ ปกติจะมี ID และ Password เป็นตัวควบคุม
10.HTML
ย่อมาจาก Hypertext Markup Language ซึ่งเป็นภาษาสำหรับ กำหนดรูปแบบง่ายๆ ของเอกสาร ที่จะถูกแสดงโดย บราวเซอร์ ในระบบ อินเทอร์เน็ต
11.POP SERVER
Post Office Protocol คือ เซอร์เวอร์ที่ใช้ในการรับส่ง Email
12.PROTOCOL
มาตราฐานที่ใช้ร่วมกัน ในการติดต่อกับระบบคอมพิวเตอร์ด้วยกัน
13.SCSI
Small Computer System Interface การเชื่อมต่ออุปกรณ์ เพื่อรับ-ส่ง ข้อมูลถึงกัน
14.SERVER
คอมพิวเตอร์แม่ข่าย ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการเก็บข้อมูล
15.TELNET
เครื่องมือในการติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกล
16.TOKEN RING
มาตราฐานการเชื่อต่อเคเบิล อย่างหนึ่งในระบบเครือข่าย
17.UPLOAD
วิธีการส่งข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ
18.URL
Unique Resource Locator ชื่อของคอมพิวเตอร์ ใช้เพื่อระบุตำแหน่งของเอกสารบน เวิลด์ ไวด์ เว็บ
WAN
19.Wide Area Network
ระบบเครือข่ายขนาดใหญ่กว่า LAN สามารถติดต่ไปยังเครือข่ายภายนอกได้ทั่วโลก
20.WEBMASTER
ชื่อตำแหน่งของผู้ที่สร้าง ดูแล จัดการ web ทั้งนี้อาจหมายถึงเข้าของ web ก็ได้




 



วันอาทิตย์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ใบงานที่3

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

1.คอมพิวเตอร์คืออะไร
     - คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่มีการทำงานแบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล สามารถแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อนตามคำสั่งของโปรแกรม

2.ให้นักเรียนวาดรูปวงจรการทำงานของคอมพิวเตอร์ใหสมบูรณ์มากที่สุด



3.คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง
- การทำงานด้วยระะบบอิเล็กทรอนิกส์
- การทำงานด้วยความเร็วสูง
- ความถูกต้องแม่นยำเชื่อถือได้
- การเก็บข้อมูลได้ในปริมาณมาก
- การสื่อสารเชื่อมโยงข้อมูล

4.คอมพิวเตอร์มีกี่ประเภท อะไรบ้าง
 - แบ่งเป็น 5 ประเภทหลัก คือ
    4.1 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer)
    4.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
    4.3 มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)
    4.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
   4.5 สถานีงานวิศวกรรม (engineering workstation)

5.งานด้านการวิจัย ด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรม ควรเลือกใช้คอมพิวเตอร์ประเภทใด เพราะเหตุใดถึงเลือกใช้คอมพิวเตอร๋ประเภทนั้น
- ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถสูงที่สุดในกลุ่มมีขนาดใหญ่ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) สามารถประมวลผลข้อมูลในปริมาณมากรวมถึงการประมวลผลงานที่มีรูปแบบอันซับซ้อน

6.ระบบงานจองห้องพักของโรงแรม ควรเลือกใช้คอมพิวเตอร์ประเภทใด เพราะเหตุใดถึงเลือกใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนั้น
- มินิคอมพิวเตอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีราคาสูงกว่าสถานีงานวิศวกรรมนำมาใช้สำหรับประมวลผลในงานสารสนเทศขององค์การขนาดกลาง จนถึงองค์การขนาดใหญ่ที่มีการวางระบบเป็นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกัน เช่น งานบัญชีและการเงิน งานออกแบบทางวิศวกรรม งานควบคุมการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม

7.ระบบธนาคาร ควรเลือกใช้คอมพิวเตอร์ประเภทใดเพราะเหตุใดถึงเลือกใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนั้น
 -ควรเลือกใช้ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer)เพราะ  มีขนาดใหญ่ ประสิทธิภาพสูง มีความเร็วในการทำงานและมีหน่วยความจำสูงมาก เหมาะกับหน่วยงานขนาดใหญ่ เช่น ธนาคาร เป็นต้น
8.คอมพิวเตอร้พกพาหรือโน้ลบุ๊ค จัดอยู่ในคอมพิวเตอร์ประเภท
 -มินิคอมพิวเตอร์(minicomputer)

9.องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยกี่ด้าน ได้แก่อะไรบ้าง
       -5 ด้าน    ได้แก่          1.ฮาร์ดแวร์ Hardware )
                                               2  ซอฟต์แวร์ Software )
                                               3.บุคลากร Peopleware )
                                               4. ขอมูลและสารสนเทศ 
                                                5. กระบวนการทำงาน Procedure )

10.ให้นักเรียนวาดรูปแสดงขั้นตอนของสารสนเทศ






11.ให้นักเรียนแต่ละคนบอกถึงประโยชน์และวิธีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการเรียน
   -ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์นั้นมีหลายด้านทั้งในด้านการคำนวณ  และสามารถใช้เป็นเครื่องทุ่นแรงในหารทำงานหรือรายงานต่างได้ และสามารถนำมาปรับใช้ในการเรียนได้ โดยการใช้คอมพิวเตอร์ในการพิมพ์งาน และเก็บข้อมูลสำคัญ หรือใช้หาข้อมูลในอินเตอร์เน็ตได้อีกด้วย

12.ให้นักเรียนเสนอความคิดเห็นว่าคอมพิวเตอร์มีความจำเป็นต่อชีวิตประจำวันของมนุษย์หรือไม่อย่างไรและนักเรียนคิดว่าทุกคนมีความจำเป็นที่ต้องเรียนรู้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หรือไม่ เพราะเหตุใด
   -มีความจำเป็น เพราะ ในปัจจุบันมีการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีมากมาย อีกทั้งยังมีการส่งข่าวสารที่รวดเร็ว และควรจะมีการเรียนรู้เรื่องเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ให้มากขึ้นเพื่อการเรียนรู้และการใช้ที่ถูกต้อง

วันอาทิตย์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555


1.จงยกตัวอย่างระบบสารสนเทศที่นักเรียนพบเห็นในชีวิตประจำวันมาอย่างน้อย 5 ระบบ
- ระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษา
- ระบบสารสนเทศเทคโนโลยีการเกษตร
- ระบบสารสนเทศทางการเเพทย์
-ระบบสารสนเทศการเงินการธนาคาร
-ระบบสารสนเทศการแสดงหุ้นของบริษัทต่างๆ

2. เทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร เราสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารเทศได้อย่างไรบ้าง
จงยกตัวอย่างพร้อมอธิบาย
   เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology, IT) หมายถึงเทคโนโลยีในการประมวลผลสารสนเทศ (คำว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลแล้ว) ซึ่งก็คือเทคนิควิธีการต่างๆ ที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการข้อมูล (ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล) เช่น การจัดเก็บข้อมูล การสื่อสารข้อมูล การสืบค้นข้อมูล การแสดงผลข้อมูล เป็นต้น โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้การจัดการข้อมูล เป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็ว และง่ายดายยิ่งขึ้น ส่งผลต่อการพัฒนาและความก้าวหน้าต่างๆ ในชีวิตประจำวันของเรา

- ลดเวลาในการทำงาน โดยการนำเอาเทคโนโลยีสำหรับการประมวลผลข้อมูลมาใช้ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ซึ่งทำให้สามารถจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ และยังสามารถจัดเรียง แก้ไข และสืบค้นได้อย่างรวดเร็ว
- ลดต้นทุน เพราะระบบสารสนเทศนั้นสามารถจัดการกับงานที่มีความซับซ้อนได้รวดเร็ว ซึ่งจะทำให้งานเสร็จเร็วขึ้น และต้นทุนในการดำเนินงาน รวมไปถึงค่าบุคลากรอีกด้วย
- ช่วยให้การสื่อสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศนั้น ทำให้เกิดการสื่อสารที่รวดเร็ว และการสื่อสารที่รวดเร็ว ก็สร้างความก้าวหน้าอีกมากมาย ทุกวันนี้เราสามารถติดต่อข้ามโลกได้ภายในเวลาไม่กี่วินาที สามารถส่งข้อมูลขนาดใหญ่ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ภายในเวลาอันรวดเร็วเช่นกัน
- ระบบสารสนเทศช่วยให้การทำงานร่วมกันเป็นไปได้ด้วยดี โดยช่วยในการประสานงานกับฝ่ายต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งเพิ่มความสะดวกในการสื่อสารข้อมูล จัดเรียง สืบค้นข้อมูล และการใช้ทรัพยากรร่วมกัน

3. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศมีกี่ส่วน อะไรบ้าง
- บุคคลากร
- ซอฟต์แวร์
- ฮาร์ดแวร์
- ระเบียบปฏิบัติการ
- ข้อมูล
4. จงอธิบายการประมวลผลแบบกลุ่ม และ แบบเชื่อมตรง
     - แบบกลุ่ม จะเป็นวิธีการประมวลผลที่ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลในแต่ละช่วงเวลาไว้ จนกว่าจะมีข้อมูลที่ประมวลผลจำนวนหนึ่งจึงทำการประมวลผลพร้อมกันหรืออาจรอจนกว่าครบตามเวลาที่กำหนดจึงทำการประมวลผลไม่ว่าจะมีจำนวนเท่าใดก็ตามเช่น เวลาเข้าออกของพนักงานอาจจะพิมพ์เก็บไว้ทุกสัปดาห์และนำมาประมวลผลเดือนละครั้งเท่านั้น เป็นต้น

    -แบบเชื่อมตรง  การประมวลผลที่ทำโดยอุปกรณ์ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของเครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าอุปกรณ์นั้นจะเป็นส่วนหนึ่งของตัวเครื่อง (เช่นเครื่องอ่านบัตร) หรืออุปกรณ์นั้นจะอยู่ห่างออกไปแต่สามารถติดต่อโดยตรงกับเครื่องได้ เช่น การประมวลผลโดยมีการสื่อสารระหว่างเครื่องปลายทางหรือเทอร์มินัล (terminal) และหน่วยประมวลผลกลางโดยทางโทรศัพท์ หรือวิธีอื่น ๆ การทำเช่นนี้เครื่องจะประมวลผลทันทีที่ได้รับข้อมูล ซึ่งจะเข้าสู่ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ตลอดเวลา เช่น ที่ใช้ในการส่งยานอากาศไปนอกโลก การถอนเงินในระบบเงินด่วน เป็นต้น ดู batch processing เปรียบเทียบ
5.   ประโยชน์ของ Geographic Information System มีอะไรบ้าง
-.การอนุรักษ์ และจัดการสิ่งแวดล้อม ( Environmental Management, Conservation) การจัดการทางพืชและสัตว์ในดิน ( Flora and Fauna) สัตว์ป่า ( Wild Life) อุทยานแห่งชาติ ( National Park) การควบคุมและติดตามมลภาวะ ( Pollution Control and Monitoring) และแบบจำลองด้านนิเวศวิทยา ( Ecological Modelling)
  - การจัดการด้านทรัพยากร/การเกษตร ( Resources Management / Agriculture) การจัดการระบบชลประทาน การพัฒนาและจัดการที่ดินเพื่อการเกษตร การอนุรักษ์ดินและน้ำ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ป่าไม้ และการทำไม้ ฯ
   -การวางแผนด้านสาธารณะภัย (Disaster Planning) การบรรเทาสาธารณะภัย การติดตามการปนเปื้อนของสารพิษ และแบบจำลองผลกระทบอุทกภัย ( Modelling Flood Impacts)
   -ด้านผังเมือง (Urban GIS) การวางแผนผังเมือง การวิเคราะห์ด้านอาชญากรรม ที่ดินและภาษีที่ดิน ระบบการระบายน้ำเสีย โครงการพัฒนาที่อยู่อาศัย
   -การจัดการสาธารณูปโภค (Facilities Management) การจัดการด้านไฟฟ้า ประปา ท่อส่งก๊าซ หน่วยดับเพลิง ระบบจราจรและโทรคมนาคม
   -การวิเคราะห์ด้านตลาด ( Marketing Analysis) การหาทำเลที่เหมาะสมในการขยายสาขา สำนักงาน

6. ให้นักเรียนยกตัวอย่างระบบสารสนเทศระดับต่างๆ มาอย่างน้อยระดับละ 1ตัวอย่าง
ระดับขององค์กร

สารสนเทศมีบทบาทกับบุคคลในทุกระดับองค์กร โดยแต่ละระดับจะมีลักษณะและจุดมุ่งหมายในการทำงานที่แตกต่างกัน ดังนี้
    - สารสนเทศระดับบุคคล
   - สารสนเทศระดับกลุ่ม
       - สารสนเทศระดับองค์กร

เทคโนโลยีสารสนเทศ

ชื่อ: น.ส. กฤติยาภรณ์ บุญสุวรรณ

วันเกิด: วันศุกร์ 13 กันยายน 2539

อายุ: 16  

น้ำหนัก :43ส่วนสูง: 157

สีที่ชอบ: สีชมพู

กำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/3
โรงเรียนชะอวด